พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาพระฤกษ์ตึกบัญชาการ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

more info

Illustration, Vol.102 no.2630 (22 Jul. 1893)

more info

Illustration, Vol.102 no.2631 (29 Jul. 1893)

more info

ประเทศสยาม พ.ศ. 2411-2453

..ตลอดจนถึงราษฎรที่ต่ำที่สุด จะให้ได้มีโอกาสเล่าเรียน ได้เสมอกัน..

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

more info

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร วัดประจำรัชกาล ในรัชกาลที่ ๕

...การเล่าเรียนในบ้านเมืองเรานี้ จะเปนข้อสำคัญที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุส่าห์จัดขึ้นให้เจริญจงได้...

ด้วยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ

อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1

more info

อนุสาวรีย์ทหารอาสาสงครามโลกครั้งที่ 1

พระราชนิพนธ์คัดสรร

พระราชนิพนธ์ละครดึกดำบรรพ์เรื่อง ท้าวแสนปม

เห็นแก่ลูก : ละคอนพูดองก์เดียว

ศกุนตลา

บทลครพูดสลับลำเรื่อง วิวาหพระสมุท

มัทนะพาธา, หรือ, ตำนานแห่งดอกกุหลาบ : ลครพูดคำฉันท์ 5 องค์

โรเมโอและจูเลียต เรื่องลครสลดใจของวิลเลียม เชกส์เปียร์

“พระมหาธีรราชประกาศไว้ ที่อังกฤษสมัยทรงศึกษา

ว่าเมื่อไรเสด็จกลับพารา จะเป็นไทยยิ่งกว่าเมื่อมาเรียนฯ”

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล แปลจากกระแสพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
8 มีนาคม พ.ศ. 2437 ณ สถานอัครราชทูตสยาม กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ

“ ให้พึงนึกในใจไว้ว่าเราไม่ได้มาเรียนจะเปนฝรั่ง เราเรียนเพื่อจะเปนคนไทยที่มีความรู้เสมอฝรั่ง

เมืองเราเวลานี้ต้องการคนที่มีความรู้ที่จะรับราชการในน่าที่ต่างๆ และประกอบการต่างๆ ทั่วไปเปนอันมาก

เพื่อจะได้การปกครองบ้านเมืองเปนผลสำเร็จ ”

พระราชดำรัสตอบพวกนักเรียนในกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 11 มกราคม รัตนโกสินทร์ 116 (พ.ศ. 2440) หน้า 138 จาก พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2417 ถึง พ.ศ. 2453

“เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเปนต้นลงไปตลอดจนถึงราษฎรที่ต่ำที่สุด

จะให้ได้มีโอกาสเล่าเรียนได้เสมอกันไม่ว่าเจ้าว่าขุนนางว่าไพร่

เพราะฉนั้นจึงขอบอกได้ว่าการเล่าเรียนในบ้านเมืองเรานี้

จะเปนข้อสำคัญที่หนึ่ง ซึ่งฉันจะอุส่าห์จัดขึ้นให้เจริญจงได้”

พระราชดำรัสตอบในการพระราชทานรางวัลนักเรียนที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ เมื่อวันศุกร์เดือน 5 ขึ้น 12 ค่ำ ปีระกายังเป็นฉศก จุลศักราช 1246 (พ.ศ. 2427)
หน้า 39. จาก พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2417 ถึง พ.ศ. 2453

“ชนใดไม่มีดนตรีการ ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก

อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดขบถอัปลักษณ์”

เวนิสวานิช

“นานาประเทศล้วน นับถือ

คนที่รู้หนังสือ แต่งได้

ใครเกลียดอักษรคือ คนป่า

ใครเยาะกวีไซร้ แน่แท้คนดง”

พระนลคำหลวง

กิจกรรมที่ผ่านมา